เทคนิค และ วิธีการแก้ไขปัญหา การจัดทำบัญชี

เทคนิคและวิธีการแก้ไขปัญหาการจัดทำบัญชี

ความเข้าใจพื้นฐาน ของการจัดทำบัญชี
การจัดทำบัญชีเพื่อลดข้อผิดพลาดและเทคนิคที่สามารถมาใช้ได้ในการตรวจสอบ

ความเข้าใจพื้นฐาน

1.งบการเงินต้องมีความน่าเชื่อถือ และแสดงข้อมูลที่ถูกต้องตามควร

2.หลักการพื้นฐานในการเรียนรู้รายการต้องเข้าเงื่อนไข

    2.1 เกี่ยวข้องกับกิจการ และเกิดขึ้นจริง

    2.2 วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ เกณฑ์ในการวัดมูลค่า

           - ราคาทุนเดิม (Historical Cost)

           - ราคาทุนปัจจุบัน (Current Cost)

           - มูลค่าที่จะได้รับ(จ่าย) (Realizable or Settlement Value)

           - มูลค่าปัจจุบัน (Present Value)

 

3. เมื่อเข้าสู่การรับรู้รายการต้องเข้าใจ ดังนี้

     - ความหมาย / การรับรู้ : สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย

     - เกณฑ์คงค้าง และการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

 

4. วงจรการจัดทำบัญชีต้องเข้าใจ ดังนี้

     4.1 การรวบรวมข้อมูล เอกสาร

     4.2 การวิเคราะห์รายการค้า

     4.3 การบันทึกบัญชี ในสมุดบัญชี

     4.4 การผ่านรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภท แยกตามหมวดหมู่

     4.5 จัดทำงบทดลองก่อนปรับปรุง

     4.6 ตรวจสอบรายการปรับปรุง

     4.7 บันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไปและผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท

     4.8 จัดทำงบทดลองหลังปรับปรุง

     4.9 จัดทำรายงานทางการเงิน

     4.10 วิเคราะห์งบการเงิน สรุปผล เสนอรายงานแก่ผู้บริหาร

 

การจัดทำบัญชีเพื่อลดข้อผิดพลาด

1. ทบทวนรายการปรับปรุง
2. วางแผนการทำงาน วิเคราะห์ความเสี่ยง รายการทางบัญชีสำคัญ
3. พิจารณาระบบควบคุมภายในส่วนที่ควรได้รับการปรับปรุง
4. สร้างกระบวนการติดตามอย่างเป็นระบบ     

    - การเคลื่อนไหวทางธุรกิจ

    - การเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

    - การเปลี่ยนแปลงทางภาษีอากร

5. ประสานกับผู้ตรวจสอบบัญชีเป็นระยะ

6. สื่อสารกับผู้บริหาร

 

เทคนิคควรนำมาใช้ในการตรวจสอบ

  1. การตรวจดู (Inspection)
  2. การสังเกต (Observation)
  3. การตรวจนับ (Counting)
  4. การยืนยันยอด (Confirmation)
  5. การตรวจสอบเอกสารใบสำคัญ (Vouching)
  6. การคำนวณใหม่ (Recomputation)
  7. การตรวจสอบการผ่านรายการ (Posting)
  8. การตรวจหารายการผิดปกติ (Scanning)
  9. การสอบถาม (Inquiry)
  10. การติดตามรายการ (Tracing)
  11. การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ (Analytical Tests)